คำแนะนำการใช้งาน
ขยายขนาดตัวอักษร
เพิ่มระยะห่างตัวอักษร
เพิ่มขนาดลูกศรชี้
ตำแหน่ง
เส้นช่วยในการอ่าน
เน้นการเชื่อมโยง
ปรับชุดสี
เปิดการใช้งาน
ปิดการใช้งาน
คำแนะนำการใช้งาน
เริ่มต้นใช้งาน
Text Size

การขยายขนาดตัวอักษร

สามารถเลือกปรับขนาดตัวอักษรได้ 3 ระดับ คือ 20% 30% และ 40% จากขนาดมาตรฐาน

Text Spacing

การเพิ่มระยะห่างตัวอักษร

การปรับระยะห่างของตัวอักษร และช่องว่างระหว่างบรรทัด สามารถปรับได้ 3 ระดับ เพื่อให้อ่านข้อมูลต่างๆ ได้ง่ายขึ้น

Large Cursor

การเพิ่มขนาดลูกศรชี้ตำแหน่ง

ขยายขนาดของลูกศรชี้ตำแหน่ง (Cursor) ให้ใหญ่ขึ้นถึง 400%


Reading Guide

เส้นช่วยในการอ่าน

จะมีเส้นปรากฏขึ้น พร้อมกับการเลื่อนลูกศรชี้ตำแหน่ง เพื่อให้ผู้อ่านสามารถโฟกัสข้อความที่ต้องการอ่านได้สะดวกขึ้น

Highlight Links

เน้นการเชื่อมโยง

ช่วยเน้นและแยกส่วนของลิงค์หรือปุ่มต่างๆ ออกจาก เนื้อหาภายในเว็บไซต์ เพื่อให้สามารถมองเห็นปุ่มได้ชัดเจนยิ่งขึ้น

Change Color

เลือกปรับชุดสี

สามารถเลือกปรับชุดสีของเว็บไซต์ได้ 4 แบบตัวอักษรและปุ่มต่างๆ มีสีเข้มคมชัด มองเห็นได้ชัดเจน

ย้อนกลับ

ศิวลึงค์ 1,000 ปี

ศิวลึงค์ 1,000 ปี ศิลปะเขมรในวัฒนธรรมฮินดู หลักฐานการเข้ามามีอิทธพลของเขมรในตราด

         ในจังหวัดตราดมีการค้นพบโบราณวัตถุขอมด้วยเช่นกัน ได้แก่ ศิวลึงค์ ซึ่งเป็นรูปเคารพแทนพระศิวะ เทพสูงสุดของศาสนาฮินดู ไศวนิกาย สลักจากหินทรายพบที่บ้านหนองใหญ่ ตำบลห้วยแร้ง อำเภอเมือง จังหวัดตราด ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 โดย พระยานรเชษฐ์วุฒิไวยจางวาง เจ้าเมืองตราดสมัยนั้น ได้นำมาประดิษฐานไว้ในศาลเจ้าพ่อหลักเมืองคู่กับหลักเมืองตราดจวบจนปัจจุบัน1

         รูปแบบของศิวลึงค์ที่จังหวัดตราด เป็นแบบที่สลักแบ่งแยกชัดเจนออกเป็น 3 ส่วน คือ พรหมภาค (ส่วนฐานสี่เหลี่ยมล่างสุด) วิษณุ และรุทรภาค ในเรื่องความเชื่อคนจังหวัดตราดนิยมกราบไหว้ขอพรศิวลึงค์ ด้านสุขภาพและรักษาโรคภัยไข้เจ็บ

        องค์ศิวลึงค์ที่พบในจังหวัดตราดยังเป็นข้อถกเถียงถึงแหล่งที่มาว่ามาจากที่ใดในสมัยใดก่อนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้นำมาประดิษฐ์ไว้ที่ศาลหลักเมืองในปัจจุบัน รองศาสตราจารย์ ดร.ศานติ ภักดีคำ หัวหน้าสาขาวิชาภาษาเขมรผู้เชี่ยวชาญสันนิษฐานว่าน่าจะอยู่ในพุทธศตวรรษที่ 12 – 14

......................................

สำนักงานพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม. (2553). พิพิธภัณฑสถานเมืองตราด. (พิมพ์ครั้งแรก). กรุงเทพ: หจก.พระราม ครีเอชั่น, 48

5,836 views

0

แบ่งปัน