คำแนะนำการใช้งาน
ขยายขนาดตัวอักษร
เพิ่มระยะห่างตัวอักษร
เพิ่มขนาดลูกศรชี้
ตำแหน่ง
เส้นช่วยในการอ่าน
เน้นการเชื่อมโยง
ปรับชุดสี
เปิดการใช้งาน
ปิดการใช้งาน
คำแนะนำการใช้งาน
เริ่มต้นใช้งาน
Text Size

การขยายขนาดตัวอักษร

สามารถเลือกปรับขนาดตัวอักษรได้ 3 ระดับ คือ 20% 30% และ 40% จากขนาดมาตรฐาน

Text Spacing

การเพิ่มระยะห่างตัวอักษร

การปรับระยะห่างของตัวอักษร และช่องว่างระหว่างบรรทัด สามารถปรับได้ 3 ระดับ เพื่อให้อ่านข้อมูลต่างๆ ได้ง่ายขึ้น

Large Cursor

การเพิ่มขนาดลูกศรชี้ตำแหน่ง

ขยายขนาดของลูกศรชี้ตำแหน่ง (Cursor) ให้ใหญ่ขึ้นถึง 400%


Reading Guide

เส้นช่วยในการอ่าน

จะมีเส้นปรากฏขึ้น พร้อมกับการเลื่อนลูกศรชี้ตำแหน่ง เพื่อให้ผู้อ่านสามารถโฟกัสข้อความที่ต้องการอ่านได้สะดวกขึ้น

Highlight Links

เน้นการเชื่อมโยง

ช่วยเน้นและแยกส่วนของลิงค์หรือปุ่มต่างๆ ออกจาก เนื้อหาภายในเว็บไซต์ เพื่อให้สามารถมองเห็นปุ่มได้ชัดเจนยิ่งขึ้น

Change Color

เลือกปรับชุดสี

สามารถเลือกปรับชุดสีของเว็บไซต์ได้ 4 แบบตัวอักษรและปุ่มต่างๆ มีสีเข้มคมชัด มองเห็นได้ชัดเจน

ย้อนกลับ

ว่าวพระร่วง-พระลือ

ตำนาน พระร่วงวิ่งว่าว

     การเล่นว่าว เริ่มเล่นครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อไหร่นั้นไม่ปรากฏหลักฐาน แต่สันนิษฐานว่าน่าจะเข้ามาในเมืองไทยพร้อมกับศาสนาพราหมณ์  ในรัชกาลของพระร่วงอรุณราชกุมาร เจ้าเมืองสวรรคโลก ตามเอกสารในพงศาวดารเหนือ ในพิธีเสี่ยงเคราะห์ของบ้านเมืองตามคติของพราหมณ์มีในพระราชพิธี ๑๒ เดือน แล้วได้มาเป็นกีฬาเล่นสนุกสนานกันในเดือน เดือน นับตั้งแต่พระเจ้าแผ่นดินลงมาจนถึงคนสามัญและเด็ก จากนั้นน่าจะจำหลักมั่นในแผ่นดินสุโขทัยผ่านมาถึงสมัยกรุงศรีอยุธยา จนถึงสมัยปัจจุบัน นอกจากการเล่นเพื่อความเพลิดเพลินแล้ว ยังได้มีการดัดแปลงเป็นว่าวจุฬาผูกหม้อดินดำใช้ในการสงครามอีกด้วย

      ว่าวในสมัยพระร่วงคงจะเล่นในฤดูหนาวมากกว่าฤดูอื่นๆ ด้วยมีลมแรงพอที่จะวิ่งว่าวได้ ดังปรากฏในหนังสือตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ที่กล่าวถึงเดือนยี่ พระจันทร์โคจรอยู่ในกลุ่มดาวปุษยะ อันหมายถึง ดาวปุยฝ้ายหรือดาวรวงผึ้ง กระจุกดาวเปิดในราศีกรกฏไว้ว่า...

          “เดือนยี่ถึงการพระราชพิธีบุษยาภิเษก เถลิงพระโคกินเลี้ยงเป็นนักขัตฤกษ์ หมู่นางในก็ได้ดูชุดชักว่าวหง่าว ฟังสำเนียงเสียงว่าวร้องเสนาะลั่นฟ้าไปทั้งทิวาราตรี

     ขอขอบคุณเนื้อเรื่องและภาพถ่ายจาก

องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) สำนักงานพื้นที่พิเศษอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย - ศรีสัชนาลัย - กำแพงเพชร (อพท.๔)

7,141 views

0

แบ่งปัน

มิวเซียมในจังหวัดสุโขทัย