คำแนะนำการใช้งาน
ขยายขนาดตัวอักษร
เพิ่มระยะห่างตัวอักษร
เพิ่มขนาดลูกศรชี้
ตำแหน่ง
เส้นช่วยในการอ่าน
เน้นการเชื่อมโยง
ปรับชุดสี
เปิดการใช้งาน
ปิดการใช้งาน
คำแนะนำการใช้งาน
เริ่มต้นใช้งาน
Text Size

การขยายขนาดตัวอักษร

สามารถเลือกปรับขนาดตัวอักษรได้ 3 ระดับ คือ 20% 30% และ 40% จากขนาดมาตรฐาน

Text Spacing

การเพิ่มระยะห่างตัวอักษร

การปรับระยะห่างของตัวอักษร และช่องว่างระหว่างบรรทัด สามารถปรับได้ 3 ระดับ เพื่อให้อ่านข้อมูลต่างๆ ได้ง่ายขึ้น

Large Cursor

การเพิ่มขนาดลูกศรชี้ตำแหน่ง

ขยายขนาดของลูกศรชี้ตำแหน่ง (Cursor) ให้ใหญ่ขึ้นถึง 400%


Reading Guide

เส้นช่วยในการอ่าน

จะมีเส้นปรากฏขึ้น พร้อมกับการเลื่อนลูกศรชี้ตำแหน่ง เพื่อให้ผู้อ่านสามารถโฟกัสข้อความที่ต้องการอ่านได้สะดวกขึ้น

Highlight Links

เน้นการเชื่อมโยง

ช่วยเน้นและแยกส่วนของลิงค์หรือปุ่มต่างๆ ออกจาก เนื้อหาภายในเว็บไซต์ เพื่อให้สามารถมองเห็นปุ่มได้ชัดเจนยิ่งขึ้น

Change Color

เลือกปรับชุดสี

สามารถเลือกปรับชุดสีของเว็บไซต์ได้ 4 แบบตัวอักษรและปุ่มต่างๆ มีสีเข้มคมชัด มองเห็นได้ชัดเจน

ย้อนกลับ

หลวงพ่อสุขโข

หลวงพ่อสุโข อำเภอบึงนาราง

หลวงพ่อสุโข วัดบึงนาราง จังหวัดพิจิตร

หลวงพ่อสุโข เป็นพระพุทธรูปโลหะสมัยสุโขทัย หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ ปางมารวิชัย นั่งขัดสมาธิ พระหัตถ์ซ้ายวางไว้ที่ตัก พระหัตถ์ขวาคว่ำ ขนาดหน้าตัก กว้าง ๑ ศอก ๑๓ นิ้ว สูง ๑ ศอก ๒๒ นิ้ว สันนิฐานว่าสร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. ๑๗๘๐ เดิมมีเรื่องเล่าว่า หลวงพ่อสุโขประดิษฐานอยู่ในสำนักสงฆ์ร้างที่หมู่บ้านเสือโฮก (บ้านดงเสือเหลือง) มีชาวบ้านที่ทราบข่าวได้พยายามอัญเชิญไปไว้ที่วัดบ้านตน แต่ไม่มีใครอัญเชิญไปได้ ชาวบ้านบึงนารางจึงพร้อมใจกันไปอัญเชิญหลวงพ่อสุโขมาไว้ที่วัดบึงนารางซึ่งประสบความสำเร็จ สามารถอัญเชิญหลวงพ่อสุโขมาเป็นพระประธานในอุโบสถหลังเก่า โดยเรียกหลวงพ่อว่าหลวงพ่อทอง และมีหลวงพ่อนาค หลวงพ่อดำและพระพระพุทธรูปเก่าแก่มีหลายองค์ นับตั้งแต่นั้นมาหลวงพ่อทอง (หลวงพ่อสุโข)จึงเป็นที่เคารพบูชา ที่ชาวบ้านต่างมาสักการะบูชาด้วยความศรัทธาในความศักดิ์สิทธิ์ เพราะเชื่อว่าหลวงพ่อมีพุทธานุภาพ สามารถคุ้มครองป้องกันภัยพิบัติต่าง ๆ สามารถดลบันดาลให้ได้ในสิ่งที่อฐิษฐานสมปรารถนา ในปี พ.ศ. ๒๕๑๙ ทางวัดจะมีการสร้างวัตถุมงคล พระครูพิศาลจริยคุณ เจ้าอาวาสรูปปัจจุบันและคณะทายกจึงเห็นพร้อมกันว่าควรตั้งชื่อองค์พระประธานว่า“ หลวงพ่อสุโข ”

เมื่อวันที่ ๑๗ มีนาคม พ.ศ.๒๕๓๘ หลวงพ่อได้ถูกโจรกรรมไปจากวัด สร้างความโศกเศร้าเสียใจให้แก่ชาวบ้านเป็นที่สุด หลวงพ่อพระครูพิศาลจริยคุณจึงได้ขอความอนุเคราะห์จาก พลตรีสนั่น ขจรประศาสน์ สมาชิก สภาผู้แทนราษฏรจังหวัดพิจิตร ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยในขณะนั้นให้ช่วยดำเนินการติดตาม ในวันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๓๘ ทางเจ้าหน้าที่ตำรวจสามารถนำหลวงพ่อสุโขกลับคืนมาได้ สร้างความปิติยินดีให้แก่ประชาชนเป็นอย่างยิ่ง

หลวงพ่อพระครูพิศาลจริยคุณ เจ้าอาวาสวัดบึงนารางจึงได้จัดที่ปลอดภัยให้หลวงพ่อประดิษฐานอยู่บนศาลาการเปรียญ ท่านนายอำเภอ ดร.เทวุษย์ บริรักษ์สันติกุล จึงได้จัดทำห้องกระจกถวาย และนำพระพุทธบาทเก่าแก่ที่ชาวบ้านให้ความศรัทธาเคารพนับถือไว้ในห้องด้วย และจัดทำพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นไว้บนศาลาการเปรียญด้วยเพื่อให้ประชาชนที่มาสักการะกราบไหว้บูชาหลวงพ่อสุโข และรอยพระพุทธบาท ได้มีโอกาสได้รู้จักประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านบึงนาราง และชาวบึงนาราง เป็นการกระตุ้นปลุกจิตสำนึกรักถิ่นเกิดให้แก่ผู้คนที่มาสักการะบูชา ได้เห็นรากเหง้าพื้นฐานของบรรพชนที่สร้างสมสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน

 

หลวงพ่อสุโข พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ของวัดบึงนาราง

ลวดลายในรอยพระพุทธบาทเก่าแก่ในวัดบึงนาราง

ประชาชนในหมู่บ้านนำมาถวายเพื่อจัดทำพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นชาวบึงนาราง แหล่งเรียนรู้ชุมชน

โบราณวัตถุที่ประชาชนในหมู่บ้านนำมาถวายเพื่อจัดทำพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นชาวบึงนาราง แหล่งเรียนรู้ชุมชนหลวงพ่อสุโข วัดบึงนาราง จังหวัดพิจิตร

หลวงพ่อสุโข เป็นพระพุทธรูปโลหะสมัยสุโขทัย หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ ปางมารวิชัย นั่งขัดสมาธิ พระหัตถ์ซ้ายวางไว้ที่ตัก พระหัตถ์ขวาคว่ำ ขนาดหน้าตัก กว้าง ๑ ศอก ๑๓ นิ้ว สูง ๑ ศอก ๒๒ นิ้ว สันนิฐานว่าสร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. ๑๗๘๐ เดิมมีเรื่องเล่าว่า หลวงพ่อสุโขประดิษฐานอยู่ในสำนักสงฆ์ร้างที่หมู่บ้านเสือโฮก (บ้านดงเสือเหลือง) มีชาวบ้านที่ทราบข่าวได้พยายามอัญเชิญไปไว้ที่วัดบ้านตน แต่ไม่มีใครอัญเชิญไปได้ ชาวบ้านบึงนารางจึงพร้อมใจกันไปอัญเชิญหลวงพ่อสุโขมาไว้ที่วัดบึงนารางซึ่งประสบความสำเร็จ สามารถอัญเชิญหลวงพ่อสุโขมาเป็นพระประธานในอุโบสถหลังเก่า โดยเรียกหลวงพ่อว่าหลวงพ่อทอง และมีหลวงพ่อนาค หลวงพ่อดำและพระพระพุทธรูปเก่าแก่มีหลายองค์ นับตั้งแต่นั้นมาหลวงพ่อทอง (หลวงพ่อสุโข)จึงเป็นที่เคารพบูชา ที่ชาวบ้านต่างมาสักการะบูชาด้วยความศรัทธาในความศักดิ์สิทธิ์ เพราะเชื่อว่าหลวงพ่อมีพุทธานุภาพ สามารถคุ้มครองป้องกันภัยพิบัติต่าง ๆ สามารถดลบันดาลให้ได้ในสิ่งที่อฐิษฐานสมปรารถนา ในปี พ.ศ. ๒๕๑๙ ทางวัดจะมีการสร้างวัตถุมงคล พระครูพิศาลจริยคุณ เจ้าอาวาสรูปปัจจุบันและคณะทายกจึงเห็นพร้อมกันว่าควรตั้งชื่อองค์พระประธานว่า“ หลวงพ่อสุโข ”

เมื่อวันที่ ๑๗ มีนาคม พ.ศ.๒๕๓๘ หลวงพ่อได้ถูกโจรกรรมไปจากวัด สร้างความโศกเศร้าเสียใจให้แก่ชาวบ้านเป็นที่สุด หลวงพ่อพระครูพิศาลจริยคุณจึงได้ขอความอนุเคราะห์จาก พลตรีสนั่น ขจรประศาสน์ สมาชิก สภาผู้แทนราษฏรจังหวัดพิจิตร ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยในขณะนั้นให้ช่วยดำเนินการติดตาม ในวันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๓๘ ทางเจ้าหน้าที่ตำรวจสามารถนำหลวงพ่อสุโขกลับคืนมาได้ สร้างความปิติยินดีให้แก่ประชาชนเป็นอย่างยิ่ง

หลวงพ่อพระครูพิศาลจริยคุณ เจ้าอาวาสวัดบึงนารางจึงได้จัดที่ปลอดภัยให้หลวงพ่อประดิษฐานอยู่บนศาลาการเปรียญ ท่านนายอำเภอ ดร.เทวุษย์ บริรักษ์สันติกุล จึงได้จัดทำห้องกระจกถวาย และนำพระพุทธบาทเก่าแก่ที่ชาวบ้านให้ความศรัทธาเคารพนับถือไว้ในห้องด้วย และจัดทำพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นไว้บนศาลาการเปรียญด้วยเพื่อให้ประชาชนที่มาสักการะกราบไหว้บูชาหลวงพ่อสุโข และรอยพระพุทธบาท ได้มีโอกาสได้รู้จักประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านบึงนาราง และชาวบึงนาราง เป็นการกระตุ้นปลุกจิตสำนึกรักถิ่นเกิดให้แก่ผู้คนที่มาสักการะบูชา ได้เห็นรากเหง้าพื้นฐานของบรรพชนที่สร้างสมสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน

 

หลวงพ่อสุโข พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ของวัดบึงนาราง

ลวดลายในรอยพระพุทธบาทเก่าแก่ในวัดบึงนาราง

ประชาชนในหมู่บ้านนำมาถวายเพื่อจัดทำพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นชาวบึงนาราง แหล่งเรียนรู้ชุมชน

โบราณวัตถุที่ประชาชนในหมู่บ้านนำมาถวายเพื่อจัดทำพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นชาวบึงนาราง แหล่งเรียนรู้ชุมชน

หลวงพ่อสุโข  วัดบึงนาราง  จังหวัดพิจิตร

 

หลวงพ่อสุโข.jpgหลวงพ่อสุโขสวย.jpg

          หลวงพ่อสุโข เป็นพระพุทธรูปโลหะสมัยสุโขทัย  หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์  ปางมารวิชัย  นั่งขัดสมาธิ  พระหัตถ์ซ้ายวางไว้ที่ตัก  พระหัตถ์ขวาคว่ำ  ขนาดหน้าตัก  กว้าง ๑ ศอก  ๑๓  นิ้ว  สูง ๑ ศอก  ๒๒ นิ้ว                สันนิฐานว่าสร้างขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. ๑๗๘๐  เดิมมีเรื่องเล่าว่า  หลวงพ่อสุโขประดิษฐานอยู่ในสำนักสงฆ์ร้างที่หมู่บ้านเสือโฮก (บ้านดงเสือเหลือง)  มีชาวบ้านที่ทราบข่าวได้พยายามอัญเชิญไปไว้ที่วัดบ้านตน แต่ไม่มีใครอัญเชิญไปได้ ชาวบ้านบึงนารางจึงพร้อมใจกันไปอัญเชิญหลวงพ่อสุโขมาไว้ที่วัดบึงนารางซึ่งประสบความสำเร็จ สามารถอัญเชิญหลวงพ่อสุโขมาเป็นพระประธานในอุโบสถหลังเก่า โดยเรียกหลวงพ่อว่าหลวงพ่อทอง  และมีหลวงพ่อนาค หลวงพ่อดำและพระพระพุทธรูปเก่าแก่มีหลายองค์ นับตั้งแต่นั้นมาหลวงพ่อทอง (หลวงพ่อสุโข)จึงเป็นที่เคารพบูชา  ที่ชาวบ้านต่างมาสักการะบูชาด้วยความศรัทธาในความศักดิ์สิทธิ์ เพราะเชื่อว่าหลวงพ่อมีพุทธานุภาพ  สามารถคุ้มครองป้องกันภัยพิบัติต่าง ๆ สามารถดลบันดาลให้ได้ในสิ่งที่อฐิษฐานสมปรารถนา  ในปี พ.ศ. ๒๕๑๙   ทางวัดจะมีการสร้างวัตถุมงคล พระครูพิศาลจริยคุณ  เจ้าอาวาสรูปปัจจุบันและคณะทายกจึงเห็นพร้อมกันว่าควรตั้งชื่อองค์พระประธานว่า“ หลวงพ่อสุโข ” 

          เมื่อวันที่  ๑๗  มีนาคม พ.ศ.๒๕๓๘  หลวงพ่อได้ถูกโจรกรรมไปจากวัด สร้างความโศกเศร้าเสียใจให้แก่ชาวบ้านเป็นที่สุด  หลวงพ่อพระครูพิศาลจริยคุณจึงได้ขอความอนุเคราะห์จาก พลตรีสนั่น ขจรประศาสน์  สมาชิก สภาผู้แทนราษฏรจังหวัดพิจิตร  ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยในขณะนั้นให้ช่วยดำเนินการติดตาม  ในวันที่ ๒๑  มีนาคม  ๒๕๓๘  ทางเจ้าหน้าที่ตำรวจสามารถนำหลวงพ่อสุโขกลับคืนมาได้  สร้างความปิติยินดีให้แก่ประชาชนเป็นอย่างยิ่ง 

          หลวงพ่อพระครูพิศาลจริยคุณ  เจ้าอาวาสวัดบึงนารางจึงได้จัดที่ปลอดภัยให้หลวงพ่อประดิษฐานอยู่บนศาลาการเปรียญ  ท่านนายอำเภอ ดร.เทวุษย์  บริรักษ์สันติกุล  จึงได้จัดทำห้องกระจกถวาย  และนำพระพุทธบาทเก่าแก่ที่ชาวบ้านให้ความศรัทธาเคารพนับถือไว้ในห้องด้วย  และจัดทำพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นไว้บนศาลาการเปรียญด้วยเพื่อให้ประชาชนที่มาสักการะกราบไหว้บูชาหลวงพ่อสุโข  และรอยพระพุทธบาท  ได้มีโอกาสได้รู้จักประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านบึงนาราง และชาวบึงนาราง  เป็นการกระตุ้นปลุกจิตสำนึกรักถิ่นเกิดให้แก่ผู้คนที่มาสักการะบูชา  ได้เห็นรากเหง้าพื้นฐานของบรรพชนที่สร้างสมสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน

 

20160604_070018.jpg

หลวงพ่อสุโข พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ของวัดบึงนาราง

พระพุทธบาท.jpgพระบาท.jpg

ลวดลายในรอยพระพุทธบาทเก่าแก่ในวัดบึงนาราง

 

20160604_070437.jpg20160604_070744.jpg

ประชาชนในหมู่บ้านนำมาถวายเพื่อจัดทำพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นชาวบึงนาราง  แหล่งเรียนรู้ชุมชน

 

20160612_064746.jpg20160612_064742.jpg

โบราณวัตถุที่ประชาชนในหมู่บ้านนำมาถวายเพื่อจัดทำพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นชาวบึงนาราง  แหล่งเรียนรู้ชุมชน

7,796 views

1

แบ่งปัน