คำแนะนำการใช้งาน
ขยายขนาดตัวอักษร
เพิ่มระยะห่างตัวอักษร
เพิ่มขนาดลูกศรชี้
ตำแหน่ง
เส้นช่วยในการอ่าน
เน้นการเชื่อมโยง
ปรับชุดสี
เปิดการใช้งาน
ปิดการใช้งาน
คำแนะนำการใช้งาน
เริ่มต้นใช้งาน
Text Size

การขยายขนาดตัวอักษร

สามารถเลือกปรับขนาดตัวอักษรได้ 3 ระดับ คือ 20% 30% และ 40% จากขนาดมาตรฐาน

Text Spacing

การเพิ่มระยะห่างตัวอักษร

การปรับระยะห่างของตัวอักษร และช่องว่างระหว่างบรรทัด สามารถปรับได้ 3 ระดับ เพื่อให้อ่านข้อมูลต่างๆ ได้ง่ายขึ้น

Large Cursor

การเพิ่มขนาดลูกศรชี้ตำแหน่ง

ขยายขนาดของลูกศรชี้ตำแหน่ง (Cursor) ให้ใหญ่ขึ้นถึง 400%


Reading Guide

เส้นช่วยในการอ่าน

จะมีเส้นปรากฏขึ้น พร้อมกับการเลื่อนลูกศรชี้ตำแหน่ง เพื่อให้ผู้อ่านสามารถโฟกัสข้อความที่ต้องการอ่านได้สะดวกขึ้น

Highlight Links

เน้นการเชื่อมโยง

ช่วยเน้นและแยกส่วนของลิงค์หรือปุ่มต่างๆ ออกจาก เนื้อหาภายในเว็บไซต์ เพื่อให้สามารถมองเห็นปุ่มได้ชัดเจนยิ่งขึ้น

Change Color

เลือกปรับชุดสี

สามารถเลือกปรับชุดสีของเว็บไซต์ได้ 4 แบบตัวอักษรและปุ่มต่างๆ มีสีเข้มคมชัด มองเห็นได้ชัดเจน

ย้อนกลับ

เงาพระพุทธเจ้า

วัดพระพุทธฉาย

     วัดพระพุทธฉาย ตั้งอยู่อำเภอเมืองสระบุรี จังหวัดสระบุรี เป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธฉาย  คือมีลักษณ์เป็นที่ภาพเลือนราง ประทับอยู่หน้าผาเชิงเขา คล้ายกับพระพุทธรูปยืน จึงเรียกหนึ่งว่า “เงาพระพุทธเจ้า”

     ตำนานพระพุทธฉาย ครั้งหนึ่งพระพุทธเจ้าได้เสด็จมาที่เขาฆาฎกะ เพื่อโปรดนายพราน ฆาฎกะ ที่มีจิตใจโหดร้าย จนสำเร็จเป็นพระอรหันต์ เมื่อพระพุทธเจ้าจะเสด็จกลับ พระฆาฎกะจึงทูลขอให้พระพุทธเจ้าประทานสิ่งที่เป็นอนุสรณ์ เพื่อสักการะบูชา พระพุทธเจ้าจึงแสดงพุทธปาฏิหาริย์ให้เงาของพระองศ์ไปประทับอยู่ผนังหินเงื้อมภูเขาแห่งนี้ และได้ประทับรอยพระบาทไว้ที่ภูเขาแห่งนี้ด้วย

     การค้นพบพระพุทธฉาย สันนิฐานว่าค้นพบในสมัยพระเจ้าทรงธรรม เนื่องจากพระองศ์ได้มีพระกระแสรับสั่งให้ค้นหารอยพระพุทธบาทตามภูเขา จึงเป็นเหตุให้ค้นพบพระพุทธฉายนี้ด้วย และได้สร้างพระมณฑปครอบพระบรมฉายาลักษณ์ เพื่อเป็นที่สักการะบุญชา ต่อมาในปีพ.ศ.2491 โดยพระครูพระพุทธฉายภิบาล (นาค ปานรัตน์) มาเป็นเจ้าอาวาส ได้ดำเนินการบูรณะซ่อมแซมมณฑปใหม่ และมีการสร้างบันไดจากพื้นด้านล่างทางทิศตะวันออกพระพุทธฉายขึ้นไปจนถึงยอดเขา ประมาณ 270 ขั้นเพื่อความ

     ตำนานพระพุทธฉาย ครั้งหนึ่งพระพุทธเจ้าได้เสด็จมาที่เขาฆาฎกะ (เขาช่องลม)เพื่อโปรดนายพราน ฆาฎกะ ที่มีจิตใจโหดร้าย จนสำเร็จเป็นพระอรหันต์ เมื่อพระพุทธเจ้าจะเสด็จกลับ พระฆาฎกะจึงทูลขอให้พระพุทธเจ้าประทานสิ่งที่เป็นอนุสรณ์ เพื่อสักการะบูชา พระพุทธเจ้าจึงแสดงพุทธปาฏิหาริย์ให้เงาของพระองศ์ไปประทับอยู่ผนังหินเงื้อมภูเขาแห่งนี้ และได้ประทับรอยพระบาทไว้ที่ภูเขาแห่งนี้ด้วย

     การค้นพบพระพุทธฉาย สันนิฐานว่าค้นพบในสมัยพระเจ้าทรงธรรม เนื่องจากพระองค์ได้มีพระกระแสรับสั่งให้ค้นหารอยพระพุทธบาทตามภูเขา จึงเป็นเหตุให้ค้นพบพระพุทธฉายนี้ด้วย และได้สร้างพระมณฑปครอบพระบรมฉายาลักษณ์ เพื่อเป็นที่สักการะบุญชา ต่อมาในปีพ.ศ.2491 โดยพระครูพระพุทธฉายภิบาล (นาค ปานรัตน์) มาเป็นเจ้าอาวาส ได้ดำเนินการบูรณะซ่อมแซมมณฑปใหม่ และมีการสร้างบันไดจากพื้นด้านล่างทางทิศตะวันออกพระพุทธฉายขึ้นไปจนถึงยอดเขา ประมาณ 270 ขั้นเพื่อความสะดวกในการขึ้นไปสักการะบูชา ในทุกปีจะมีการจัดงานนมัสการพระพุทธฉาย ซึ่งจัดพร้อมกันกับงานนมัสการรอยพระพุทธบาท

จัดทำโดย Muse Mobile

 

1,452 views

0

แบ่งปัน