คำแนะนำการใช้งาน
ขยายขนาดตัวอักษร
เพิ่มระยะห่างตัวอักษร
เพิ่มขนาดลูกศรชี้
ตำแหน่ง
เส้นช่วยในการอ่าน
เน้นการเชื่อมโยง
ปรับชุดสี
เปิดการใช้งาน
ปิดการใช้งาน
Instructions for use
เริ่มต้นใช้งาน
Text Size

การขยายขนาดตัวอักษร

สามารถเลือกปรับขนาดตัวอักษรได้ 3 ระดับ คือ 20% 30% และ 40% จากขนาดมาตรฐาน

Text Spacing

การเพิ่มระยะห่างตัวอักษร

การปรับระยะห่างของตัวอักษร และช่องว่างระหว่างบรรทัด สามารถปรับได้ 3 ระดับ เพื่อให้อ่านข้อมูลต่างๆ ได้ง่ายขึ้น

Large Cursor

การเพิ่มขนาดลูกศรชี้ตำแหน่ง

ขยายขนาดของลูกศรชี้ตำแหน่ง (Cursor) ให้ใหญ่ขึ้นถึง 400%


Reading Guide

เส้นช่วยในการอ่าน

จะมีเส้นปรากฏขึ้น พร้อมกับการเลื่อนลูกศรชี้ตำแหน่ง เพื่อให้ผู้อ่านสามารถโฟกัสข้อความที่ต้องการอ่านได้สะดวกขึ้น

Highlight Links

เน้นการเชื่อมโยง

ช่วยเน้นและแยกส่วนของลิงค์หรือปุ่มต่างๆ ออกจาก เนื้อหาภายในเว็บไซต์ เพื่อให้สามารถมองเห็นปุ่มได้ชัดเจนยิ่งขึ้น

Change Color

เลือกปรับชุดสี

สามารถเลือกปรับชุดสีของเว็บไซต์ได้ 4 แบบตัวอักษรและปุ่มต่างๆ มีสีเข้มคมชัด มองเห็นได้ชัดเจน

Back

กาลเวลาที่ถูกลืม

วิถีชีวิตแห่งหนึ่ง ณ ลำปาง

กาลเวลาที่ถูกลืม.......

บ้านของฉันอยู่ที่จังหวัดลำปางถือเป็นเมืองที่มีแง่มุมของวัฒนธรรมมากมาย โดยภาพที่ฉันนำเสนอเป็นภาพหอนาฬิกาชุมชน ตั้งอยู่ ณ ถนน วังโค้ง ตำบลเวียงเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง 52000 โดยคนลำปางมีความหลงลืมว่ามีหรือเคยมี เนื่องจากอยู่ในชุมชนโดยมีการจำลองมาจากหอนาฬิกาที่เป็นศูนย์กลางของเมือง โดยเชื่อว่าการสร้างมีกระแสการปฏิรูปประเทศให้เกิดความทันสมัยโดยได้นำเอาวัฒนธรรมตะวันตกมาเผยแพร่สู่ท้องถิ่น ซึ่งในปัจจุบันมีการปล่อยให้เป็นการดูแลของชุมชน น้อยคนนักที่จะรู้จัก เนื่องจากมีหอนาฬิกาที่มีความโดดเด่นมากทำให้หลายคนมีความหลงลืมว่าสถานที่แห่งนี้มีหอนาฬิกาหอนาฬิกาชุมชนถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนเจ้าแม่สุชาดา เนื่องจากในพื้นที่บริเวณในตำนานของเจ้าแม่สุชาดาคือการประหาร ณ ลานแห่งนี้โดยรอบมีอนุสรณ์ของบุคคลสำคัญทำให้พื้นที่แห่งนี้เป็นศูนย์กลางของชุมชน โดยมีการสอดคล้องกับชุมชนในการเดินไปทำงานหรือส่งบุตรหลานไปโรงเรียน โดยการประดับตกแต่งเป็นลายตารางสีเขียวสลับสีขาว มียอดบนสุดเป็นหนูเป็นสัญลักษณ์ของหลวงพ่อเกษม เนื่องจากท่านเกิดปีชวดและถือว่าเป็นบุคคลที่ได้รับการนับถือของชาวลำปางเป็นอย่างมาก โดยคาดว่าสร้างเพื่อเป็นอนุสรณ์สถานให้กับชาวลำปาง โดยเป็นทรัพยากรทางวัฒนธรรมที่ผูกจากความเชื่อจากตำนานและวิถีชีวิตของคนในชุมชน ซึ่งในปัจจุบันกาลเวลาของเข็มนาฬิกายังคงเดินและใช้งานได้อย่างปกติ โดยลักษณะเป็นหอนาฬิกาแบบตะวันตก หน้าปัดมี 4 ด้าน ซึ่งเป็นลักษณะคล้ายหอนาฬิกากลางเมืองของลำปาง

ซึ่งถือว่าหอนาฬิกาแห่งเป็นศูนย์กลางของชุมชนที่สร้างขึ้นเพื่อสานตำนานของชุมชนโดยเป็นสัญลักษณ์ของชุมชนเก่าแก่โดยมีแหล่งทางอารยธรรมที่มีกระแสของตะวันตกเข้ามาในยุคของลำปางและรอบๆเป็นอนุสรณ์สถานที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่สักการะของคนในชุมชนของความเชื่อในบุคคลสำคัญ ซึ่งนอกจากคนในชุมชนก็สามารถเข้าถึงได้ยาก เนื่องจากอยู่ในชุมชนเป็นในส่วนในเรื่องของความเชื่อและตำนานที่มีอย่างยาวนาน

 

2,111 views

0

share

Museum in Lampang

21 March 2019
9,920
655
13 February 2023
18,927
689
04 August 2019
4,839
613
04 August 2019
7,060
662
21 March 2019
15,748
615
04 December 2019
5,307
676
02 September 2021
30,492
654
21 March 2019
7,622
593