คำแนะนำการใช้งาน
ขยายขนาดตัวอักษร
เพิ่มระยะห่างตัวอักษร
เพิ่มขนาดลูกศรชี้
ตำแหน่ง
เส้นช่วยในการอ่าน
เน้นการเชื่อมโยง
ปรับชุดสี
เปิดการใช้งาน
ปิดการใช้งาน
คำแนะนำการใช้งาน
เริ่มต้นใช้งาน
Text Size

การขยายขนาดตัวอักษร

สามารถเลือกปรับขนาดตัวอักษรได้ 3 ระดับ คือ 20% 30% และ 40% จากขนาดมาตรฐาน

Text Spacing

การเพิ่มระยะห่างตัวอักษร

การปรับระยะห่างของตัวอักษร และช่องว่างระหว่างบรรทัด สามารถปรับได้ 3 ระดับ เพื่อให้อ่านข้อมูลต่างๆ ได้ง่ายขึ้น

Large Cursor

การเพิ่มขนาดลูกศรชี้ตำแหน่ง

ขยายขนาดของลูกศรชี้ตำแหน่ง (Cursor) ให้ใหญ่ขึ้นถึง 400%


Reading Guide

เส้นช่วยในการอ่าน

จะมีเส้นปรากฏขึ้น พร้อมกับการเลื่อนลูกศรชี้ตำแหน่ง เพื่อให้ผู้อ่านสามารถโฟกัสข้อความที่ต้องการอ่านได้สะดวกขึ้น

Highlight Links

เน้นการเชื่อมโยง

ช่วยเน้นและแยกส่วนของลิงค์หรือปุ่มต่างๆ ออกจาก เนื้อหาภายในเว็บไซต์ เพื่อให้สามารถมองเห็นปุ่มได้ชัดเจนยิ่งขึ้น

Change Color

เลือกปรับชุดสี

สามารถเลือกปรับชุดสีของเว็บไซต์ได้ 4 แบบตัวอักษรและปุ่มต่างๆ มีสีเข้มคมชัด มองเห็นได้ชัดเจน

ย้อนกลับ

เมืองทุ่งใหญ่

บาทหลวงปาลเลกัวซ์เรียกเมืองตราดว่าทุ่งใหญ่

         ในปี พ.ศ.2381 (ค.ศ.1838) มงเซเญอร์ ปาลเลกัวซ์ มุขนายกมิสซังเดอ มาเลโลส์ เจ้าคณะเขตประจำประเทศสยาม ชาวฝรั่งเศสได้ลงเรือเล็กมาสำรวจชายฝั่งทะเลตะวันออกรวมถึงเมืองตราดด้วย ในครั้งนั้นปาลเลกัวซ์เรียกตราดว่า เมืองทุ่งใหญ่ (Thung-jai) และได้บันทึกเรื่องเกี่ยวกับทุ่งใหญ่ เกาะช้างไว้ว่า


...จังหวัดทุ่งใหญ่ อันอยู่ทางทิศตะวันออกของจันทบุรีนั้น อุดมสมบรูณ์ไปด้วยกระวาน ไม้จันทร์แดง รงเขมร พริกไทย งาช้าง และผลิตผลอันมีค่าอื่น ๆ อีกมาก เมืองทุ่งใหญ่มีพลเมืองอยู่ราว ๔,๐๐๐ คน เป็นไทยและคนจีนซึ่งเป็นพ่อค้ากันแทบทั้งนั้น พลเมืองส่วนน้อยทำการประมงทั้งๆ ที่ชายฝั่งทะเลมีกุ้งปลาชุม ในบริเวณใกล้เคียงกันมีเกาะอันอุดมไปด้วยพันธุ์ไม้ เช่น เกาะช้าง ซึ่งกล่าวกันว่ามีเสือชุมนัก มีภูเขาตั้งเด่นอยู่บนเกาะเป็นสถานที่พักจอดเรือทั้งหลายบรรดาที่แวะเข้ามาในย่านนี้....1
 

         เป็นหลักฐานชิ้นสำคัญที่ชี้ให้เห็นว่า เมืองตราดถูกเรียกว่า เมืองทุ่งใหญ่ เป็นเมืองท่าขนาดใหญ่ มีผู้คนหลายเชื้อชาติและเป็นเส้นทางเดินเรือมาช้านาน

....................................

1 มงเซเญอร์ ปาลเลกัวซ์. ม.ป.ป., เล่าเรื่องกรุงสยาม. แปลโดย สันต์ ท. โกมลบุตร (พิมพ์ครั้งที่4). นนทบุรี.สำนักพิมพ์ศรีปัญญา, 72.

1,925 views

3

แบ่งปัน