คำแนะนำการใช้งาน
ขยายขนาดตัวอักษร
เพิ่มระยะห่างตัวอักษร
เพิ่มขนาดลูกศรชี้
ตำแหน่ง
เส้นช่วยในการอ่าน
เน้นการเชื่อมโยง
ปรับชุดสี
เปิดการใช้งาน
ปิดการใช้งาน
คำแนะนำการใช้งาน
เริ่มต้นใช้งาน
Text Size

การขยายขนาดตัวอักษร

สามารถเลือกปรับขนาดตัวอักษรได้ 3 ระดับ คือ 20% 30% และ 40% จากขนาดมาตรฐาน

Text Spacing

การเพิ่มระยะห่างตัวอักษร

การปรับระยะห่างของตัวอักษร และช่องว่างระหว่างบรรทัด สามารถปรับได้ 3 ระดับ เพื่อให้อ่านข้อมูลต่างๆ ได้ง่ายขึ้น

Large Cursor

การเพิ่มขนาดลูกศรชี้ตำแหน่ง

ขยายขนาดของลูกศรชี้ตำแหน่ง (Cursor) ให้ใหญ่ขึ้นถึง 400%


Reading Guide

เส้นช่วยในการอ่าน

จะมีเส้นปรากฏขึ้น พร้อมกับการเลื่อนลูกศรชี้ตำแหน่ง เพื่อให้ผู้อ่านสามารถโฟกัสข้อความที่ต้องการอ่านได้สะดวกขึ้น

Highlight Links

เน้นการเชื่อมโยง

ช่วยเน้นและแยกส่วนของลิงค์หรือปุ่มต่างๆ ออกจาก เนื้อหาภายในเว็บไซต์ เพื่อให้สามารถมองเห็นปุ่มได้ชัดเจนยิ่งขึ้น

Change Color

เลือกปรับชุดสี

สามารถเลือกปรับชุดสีของเว็บไซต์ได้ 4 แบบตัวอักษรและปุ่มต่างๆ มีสีเข้มคมชัด มองเห็นได้ชัดเจน

ย้อนกลับ

วัดม่วงงาม

สวยงามฉบับลาว

     วัดม่วงงามตั้งอยู่ที่ตำบลม่วงงาม อำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี เป็นวัดที่ก่อตั้งขึ้นโดยชาวลาวเวียงจันทร์ เนื่องจากมีกลุ่มคนที่อพยพมาจากเวียงจันทร์นำโดยพระเจ้าธรรมจินดา ได้มาตั้งถิ่นฐานที่วัดตะเฆ่ และตั้งหมู่บ้านขึ้นชื่อ หมู่บ้านม่วงลาว ต่อมาในสมัยของกำนันแจ้งปักษาศร ท่านได้เปลี่ยนชื่อหมู่บ้านนี้ใหม่เป็น บ้านม่วงงาม เพื่อความเหมาะสมและใช้ชื่อนี้จนถึงปัจจุบัน        

     วัดม่วงงามมีประเพณีที่สำคัญ ถือได้ว่าเป็นประเพณีประจำวัดเลยก็ว่าได้ นั้นคือประเพณีบุญข้าวห่อ หรือวันสารทลาว โดยถือเอาวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10 ของทุกปี ประเพณีนี้มีที่มาจากการอพยพของชาวเวียงจันทร์ในสมัยก่อน จะมีการทำข้าวห่อพกติดตัวมากินระหว่างเดินทาง ในข้าวห่อนั้นจะมีทั้งข้าวจ้าว และข้าวเหนียวส่วนกับข้าวจะเป็นของแห่ง เช่น เนื้อเค็ม ปลาเค็ม ห่อรวมกันในใบตอง เมื่อถึงเวลาพักทุกคนจะนำข้าวห่อออกมาแลกเปลี่ยนกันทาน ผู้นำการเดินทางในครั้งนั้นได้นำข้าวห่อมาถวายพระ ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10 จึงเป็นที่มาของประเพณีบุญข้าวห่อสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน

     เมื่อถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10 ชาวบ้านจะพากันแต่งกายด้วยชุดลาวเวียงจันทร์ เพื่อแสดงถึงความเป็นเอกลักษณ์ของชาวเวียงจันทร์ และนำข้าวห่อมาทำบุญที่วัด โดยข้าวห่อที่นำมาถวายพระจะทำเท่ากับจำนวนคนในครอบครัว และทำเพื่ออีกหนึ่งห่อเป็นการทำบุญไปหาญาติพี่น้องที่เสียชีวิตไปแล้ว หลังจากที่พระสงฆ์ฉันท์อาหารเสร็จ ชาวบ้านจะแบ่งเอาอาหารที่พระฉันท์เสร็จแล้วกลับไปรับประทานเพื่อความเป็นสิริมงคล ซึ่งประเพณีบุญข้าวห่อนี้ได้สืบทอดกันมายาวนานกว่า 100 ปีแล้ว

จัดทำโดย Muse Mobile

1,488 views

0

แบ่งปัน