คำแนะนำการใช้งาน
ขยายขนาดตัวอักษร
เพิ่มระยะห่างตัวอักษร
เพิ่มขนาดลูกศรชี้
ตำแหน่ง
เส้นช่วยในการอ่าน
เน้นการเชื่อมโยง
ปรับชุดสี
เปิดการใช้งาน
ปิดการใช้งาน
คำแนะนำการใช้งาน
เริ่มต้นใช้งาน
Text Size

การขยายขนาดตัวอักษร

สามารถเลือกปรับขนาดตัวอักษรได้ 3 ระดับ คือ 20% 30% และ 40% จากขนาดมาตรฐาน

Text Spacing

การเพิ่มระยะห่างตัวอักษร

การปรับระยะห่างของตัวอักษร และช่องว่างระหว่างบรรทัด สามารถปรับได้ 3 ระดับ เพื่อให้อ่านข้อมูลต่างๆ ได้ง่ายขึ้น

Large Cursor

การเพิ่มขนาดลูกศรชี้ตำแหน่ง

ขยายขนาดของลูกศรชี้ตำแหน่ง (Cursor) ให้ใหญ่ขึ้นถึง 400%


Reading Guide

เส้นช่วยในการอ่าน

จะมีเส้นปรากฏขึ้น พร้อมกับการเลื่อนลูกศรชี้ตำแหน่ง เพื่อให้ผู้อ่านสามารถโฟกัสข้อความที่ต้องการอ่านได้สะดวกขึ้น

Highlight Links

เน้นการเชื่อมโยง

ช่วยเน้นและแยกส่วนของลิงค์หรือปุ่มต่างๆ ออกจาก เนื้อหาภายในเว็บไซต์ เพื่อให้สามารถมองเห็นปุ่มได้ชัดเจนยิ่งขึ้น

Change Color

เลือกปรับชุดสี

สามารถเลือกปรับชุดสีของเว็บไซต์ได้ 4 แบบตัวอักษรและปุ่มต่างๆ มีสีเข้มคมชัด มองเห็นได้ชัดเจน

ย้อนกลับ

ภูผาเทิบ

      ธรณีวิทยาเป็นหินทรายของหมวดหินภูพาน กลุ่มหินโคราชประกอบด้วย หินทราย หินทรายเนื้อกรวด และหินกรวดมนพบชั้นเฉียงระดับอยู่ทั่วไป หินทรายดังกล่าวผ่านการถูกชะล้างพังทลายจากน้ำฝนและลมพายุเป็นเวลาหลายล้านปี ซึ่งหินทรายที่มีความแข็งแรงสึกกร่อนยากยังคงเหลืออยู่ หินทรายและหินทรายแป้งที่สึกกร่อนง่ายถูกชะล้างพังทลายจึงเกิดเป็นประติมากรรมหินรูปร่างประหลาดงดงาม ทั้งรูปหินจระเข้ มงกุฎ เก๋งจีน และจานบิน เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีถ้ำฝ่ามือแดง ถ้ำพระและถ้ำลอด ซึ่งปรากฏร่องรอยของภาพเขียนสีและถ้วยชามโบราณมากมาย
ลักษณะภูมิประเทศ ลานหินทรายและมีกลุ่มโขดหินทรายที่วางซ้อนทับกัน เกิดเป็นประติมากรรมธรรมชาติ เกิดจากการกัดเซาะโดยธรรมชาติจนเกิดรูปทรงต่างๆกันมีอายุระหว่าง 95-120 ปี
ดิน ดินร่วนปนทรายแป้ง
น้ำ แหล่งน้ำที่มีลักษณะเป็นแอ่งน้ำขังเป็นเวิ้งวัง เป็นน้ำตกขนาดเล็กเกิดจากสายธารที่ไหลผ่านลานหินมุจลินท์ ภายในน้ำตกประกอบไปด้วยแอ่งหินหุบหินโขดหิน นักท่องเที่ยวนิยมไปชมทัศนียภาพและเล่นน้ำตกในฤดูแล้งจะมีบ่อน้ำซับไหลหล่อเลี้ยงพืชพันธุ์และสัตว์ป่า                                                          

ลักษณะเด่นของพื้นที่/ลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์  

 กลุ่มหินทรายวางตัวเรียงซ้อนกันคล้ายกับรูปทรงต่างๆ เช่น คล้ายมงกุฎ เครื่องบิน แมวน้ำ หัวจระเข้ ดอกเห็ด และเก๋งจีน เป็นต้น

ลักษณะปัจจัยแวดล้อมทางชีวภาพ   

พืชพรรณสภาพป่าประกอบด้วย ป่าเต็งรังประมาณ ร้อยละ 60 ของพื้นที่ ไม้เด่นในป่านี้ ได้แก่ เต็ง รัง เหียง พยอม กระบก เป็นต้น ร้อยละ 30 ของพื้นที่ เป็นป่าเบญจพรรณ ไม้เด่นในป่านี้ ได้แก่ แดง พะยูง ประดู่ มะค่าโมงและตะแบกเป็นต้น และอีกร้อยละ 10 ของพื้นที่ เป็นป่าดิบแล้งไม้เด่นได้แก่ เขลง ตะเคียนหิน โมกขาว ติ้วขาว ติ้วขนและลำดวนดง เป็นต้น                                                                                                                                                                           

ประเภทการใช้ประโยชน์ แหล่งธรรมชาติประเภทภูเขา

 เพื่อการท่องเที่ยวและนันทนาการศึกษาเรียนรู้

สุนทรียภาพและการพัฒนาทางกายภาพ

 พื้นที่เป็นธรรมชาติอย่างมาก มีลานหินกว้างสวยงามมองเห็นวิวทิวทัศน์ได้กว้าง

ขอบคุณข้อมูลจาก สำนักงานนโยบายเเละเเผนทรัพยากรธรรมชาติเเละสิ่งเเวดล้อมhttp://www.onep.go.th/thailandnaturalsites/resourcedetail.php?geo_code=MH1&resourcetypecode=2

จัดหาข้อมูลโดย นางสาวอันนานี รีจิ

4,184 views

0

แบ่งปัน