คำแนะนำการใช้งาน
ขยายขนาดตัวอักษร
เพิ่มระยะห่างตัวอักษร
เพิ่มขนาดลูกศรชี้
ตำแหน่ง
เส้นช่วยในการอ่าน
เน้นการเชื่อมโยง
ปรับชุดสี
เปิดการใช้งาน
ปิดการใช้งาน
คำแนะนำการใช้งาน
เริ่มต้นใช้งาน
Text Size

การขยายขนาดตัวอักษร

สามารถเลือกปรับขนาดตัวอักษรได้ 3 ระดับ คือ 20% 30% และ 40% จากขนาดมาตรฐาน

Text Spacing

การเพิ่มระยะห่างตัวอักษร

การปรับระยะห่างของตัวอักษร และช่องว่างระหว่างบรรทัด สามารถปรับได้ 3 ระดับ เพื่อให้อ่านข้อมูลต่างๆ ได้ง่ายขึ้น

Large Cursor

การเพิ่มขนาดลูกศรชี้ตำแหน่ง

ขยายขนาดของลูกศรชี้ตำแหน่ง (Cursor) ให้ใหญ่ขึ้นถึง 400%


Reading Guide

เส้นช่วยในการอ่าน

จะมีเส้นปรากฏขึ้น พร้อมกับการเลื่อนลูกศรชี้ตำแหน่ง เพื่อให้ผู้อ่านสามารถโฟกัสข้อความที่ต้องการอ่านได้สะดวกขึ้น

Highlight Links

เน้นการเชื่อมโยง

ช่วยเน้นและแยกส่วนของลิงค์หรือปุ่มต่างๆ ออกจาก เนื้อหาภายในเว็บไซต์ เพื่อให้สามารถมองเห็นปุ่มได้ชัดเจนยิ่งขึ้น

Change Color

เลือกปรับชุดสี

สามารถเลือกปรับชุดสีของเว็บไซต์ได้ 4 แบบตัวอักษรและปุ่มต่างๆ มีสีเข้มคมชัด มองเห็นได้ชัดเจน

ย้อนกลับ

กาลเวลาที่ถูกลืม

วิถีชีวิตแห่งหนึ่ง ณ ลำปาง

กาลเวลาที่ถูกลืม.......

บ้านของฉันอยู่ที่จังหวัดลำปางถือเป็นเมืองที่มีแง่มุมของวัฒนธรรมมากมาย โดยภาพที่ฉันนำเสนอเป็นภาพหอนาฬิกาชุมชน ตั้งอยู่ ณ ถนน วังโค้ง ตำบลเวียงเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง 52000 โดยคนลำปางมีความหลงลืมว่ามีหรือเคยมี เนื่องจากอยู่ในชุมชนโดยมีการจำลองมาจากหอนาฬิกาที่เป็นศูนย์กลางของเมือง โดยเชื่อว่าการสร้างมีกระแสการปฏิรูปประเทศให้เกิดความทันสมัยโดยได้นำเอาวัฒนธรรมตะวันตกมาเผยแพร่สู่ท้องถิ่น ซึ่งในปัจจุบันมีการปล่อยให้เป็นการดูแลของชุมชน น้อยคนนักที่จะรู้จัก เนื่องจากมีหอนาฬิกาที่มีความโดดเด่นมากทำให้หลายคนมีความหลงลืมว่าสถานที่แห่งนี้มีหอนาฬิกาหอนาฬิกาชุมชนถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนเจ้าแม่สุชาดา เนื่องจากในพื้นที่บริเวณในตำนานของเจ้าแม่สุชาดาคือการประหาร ณ ลานแห่งนี้โดยรอบมีอนุสรณ์ของบุคคลสำคัญทำให้พื้นที่แห่งนี้เป็นศูนย์กลางของชุมชน โดยมีการสอดคล้องกับชุมชนในการเดินไปทำงานหรือส่งบุตรหลานไปโรงเรียน โดยการประดับตกแต่งเป็นลายตารางสีเขียวสลับสีขาว มียอดบนสุดเป็นหนูเป็นสัญลักษณ์ของหลวงพ่อเกษม เนื่องจากท่านเกิดปีชวดและถือว่าเป็นบุคคลที่ได้รับการนับถือของชาวลำปางเป็นอย่างมาก โดยคาดว่าสร้างเพื่อเป็นอนุสรณ์สถานให้กับชาวลำปาง โดยเป็นทรัพยากรทางวัฒนธรรมที่ผูกจากความเชื่อจากตำนานและวิถีชีวิตของคนในชุมชน ซึ่งในปัจจุบันกาลเวลาของเข็มนาฬิกายังคงเดินและใช้งานได้อย่างปกติ โดยลักษณะเป็นหอนาฬิกาแบบตะวันตก หน้าปัดมี 4 ด้าน ซึ่งเป็นลักษณะคล้ายหอนาฬิกากลางเมืองของลำปาง

ซึ่งถือว่าหอนาฬิกาแห่งเป็นศูนย์กลางของชุมชนที่สร้างขึ้นเพื่อสานตำนานของชุมชนโดยเป็นสัญลักษณ์ของชุมชนเก่าแก่โดยมีแหล่งทางอารยธรรมที่มีกระแสของตะวันตกเข้ามาในยุคของลำปางและรอบๆเป็นอนุสรณ์สถานที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่สักการะของคนในชุมชนของความเชื่อในบุคคลสำคัญ ซึ่งนอกจากคนในชุมชนก็สามารถเข้าถึงได้ยาก เนื่องจากอยู่ในชุมชนเป็นในส่วนในเรื่องของความเชื่อและตำนานที่มีอย่างยาวนาน

 

2,108 views

0

แบ่งปัน