คำแนะนำการใช้งาน
ขยายขนาดตัวอักษร
เพิ่มระยะห่างตัวอักษร
เพิ่มขนาดลูกศรชี้
ตำแหน่ง
เส้นช่วยในการอ่าน
เน้นการเชื่อมโยง
ปรับชุดสี
เปิดการใช้งาน
ปิดการใช้งาน
คำแนะนำการใช้งาน
เริ่มต้นใช้งาน
Text Size

การขยายขนาดตัวอักษร

สามารถเลือกปรับขนาดตัวอักษรได้ 3 ระดับ คือ 20% 30% และ 40% จากขนาดมาตรฐาน

Text Spacing

การเพิ่มระยะห่างตัวอักษร

การปรับระยะห่างของตัวอักษร และช่องว่างระหว่างบรรทัด สามารถปรับได้ 3 ระดับ เพื่อให้อ่านข้อมูลต่างๆ ได้ง่ายขึ้น

Large Cursor

การเพิ่มขนาดลูกศรชี้ตำแหน่ง

ขยายขนาดของลูกศรชี้ตำแหน่ง (Cursor) ให้ใหญ่ขึ้นถึง 400%


Reading Guide

เส้นช่วยในการอ่าน

จะมีเส้นปรากฏขึ้น พร้อมกับการเลื่อนลูกศรชี้ตำแหน่ง เพื่อให้ผู้อ่านสามารถโฟกัสข้อความที่ต้องการอ่านได้สะดวกขึ้น

Highlight Links

เน้นการเชื่อมโยง

ช่วยเน้นและแยกส่วนของลิงค์หรือปุ่มต่างๆ ออกจาก เนื้อหาภายในเว็บไซต์ เพื่อให้สามารถมองเห็นปุ่มได้ชัดเจนยิ่งขึ้น

Change Color

เลือกปรับชุดสี

สามารถเลือกปรับชุดสีของเว็บไซต์ได้ 4 แบบตัวอักษรและปุ่มต่างๆ มีสีเข้มคมชัด มองเห็นได้ชัดเจน

ย้อนกลับ

องเชียงสือ

“ที่ระฤกถึงองเชียงสือผู้ไม่ได้มาที่นี่” ภูมินามแห่งน้ำตกคลองเจ้า

         องเชียงสือ ได้เดินทางที่เกาะกูดถึงสองครั้ง ครั้งแรกหนีจากการถูกไล่จับตัวจากกลุ่มกบฏ และเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 1 ท่านทรงได้ดูแลองเชียงสือและญาติพี่น้องเป็นอย่างดี โปรดให้องคเชียงสือสร้างบ้านอยู่บริเวณ ตำบลต้นสำโรงคอกควาย พระราชทานเบี้ยให้ปีละ 5 ตำลึง และให้เข้าเฝ้าข้างพระเฉลียงท้องพระโรงด้านตะวันตก

         ครั้งที่สองได้หนีออกจากกรุงเทพเพราะเพื่อต้องการจะไปตีเอาบ้านเมืองคืนให้จงได้และได้ โดยให้องกวานและองยี ต่อเรือทอดสมอรออยู่ที่เกาะสีชัง เมื่อถึงเวลากลางคืนจึงล่องเรือออกจากกรุงเทพเป็นเรือ 4 ลำ คนประมาณ 150 คน แล้วไปขึ้นเรือใหญ่ที่เกาะสีชังมาที่เกาะกูด

         รอยจารึกไว้ในแผ่นหินใหญ่อ่านได้ว่า “ ภส BS ๑๑๔ ” ที่ระลึกถึงองเชียงสือ ผู้ไม่ได้มาที่นี่ จากจารึกดังกล่าวพอสันนิษฐานได้ว่า เป็นพระนามย่อของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้าภานุรังสีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ( ต้นราชสกุล ภานุพันธ์ ) ซึ่งพระองค์ได้เสด็จไปที่น้ำตกเมื่อปี รัตนโกสินทร์ศก 114 ( พุทธศักราช 2438 ) ชาวบ้านเรียกว่า “น้ำตกคลองเจ้า” ซึ่ง “เจ้า” หมายถึงองเชียงสือที่มาพำนักที่นี้1

........................................

อภิลักษณ์ เกษมผลกุล. (2553). โครงการวิจัยเชิงประวัติศาสตร์เฉลิมพระเกียรติฯ “ ตามรอยเสด็จฯ เกาะช้าง จังหวัดตราด”. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สหธรรมิก,97.

1,917 views

0

แบ่งปัน