คำแนะนำการใช้งาน
ขยายขนาดตัวอักษร
เพิ่มระยะห่างตัวอักษร
เพิ่มขนาดลูกศรชี้
ตำแหน่ง
เส้นช่วยในการอ่าน
เน้นการเชื่อมโยง
ปรับชุดสี
เปิดการใช้งาน
ปิดการใช้งาน
คำแนะนำการใช้งาน
เริ่มต้นใช้งาน
Text Size

การขยายขนาดตัวอักษร

สามารถเลือกปรับขนาดตัวอักษรได้ 3 ระดับ คือ 20% 30% และ 40% จากขนาดมาตรฐาน

Text Spacing

การเพิ่มระยะห่างตัวอักษร

การปรับระยะห่างของตัวอักษร และช่องว่างระหว่างบรรทัด สามารถปรับได้ 3 ระดับ เพื่อให้อ่านข้อมูลต่างๆ ได้ง่ายขึ้น

Large Cursor

การเพิ่มขนาดลูกศรชี้ตำแหน่ง

ขยายขนาดของลูกศรชี้ตำแหน่ง (Cursor) ให้ใหญ่ขึ้นถึง 400%


Reading Guide

เส้นช่วยในการอ่าน

จะมีเส้นปรากฏขึ้น พร้อมกับการเลื่อนลูกศรชี้ตำแหน่ง เพื่อให้ผู้อ่านสามารถโฟกัสข้อความที่ต้องการอ่านได้สะดวกขึ้น

Highlight Links

เน้นการเชื่อมโยง

ช่วยเน้นและแยกส่วนของลิงค์หรือปุ่มต่างๆ ออกจาก เนื้อหาภายในเว็บไซต์ เพื่อให้สามารถมองเห็นปุ่มได้ชัดเจนยิ่งขึ้น

Change Color

เลือกปรับชุดสี

สามารถเลือกปรับชุดสีของเว็บไซต์ได้ 4 แบบตัวอักษรและปุ่มต่างๆ มีสีเข้มคมชัด มองเห็นได้ชัดเจน

ย้อนกลับ

หมวกมุงเมือง

ในยุคที่ประเทศไทยในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรีสมัยนั้นมีการสร้างชาติด้วยวัฒนธรรมใหม่ โดยจัดตั้งสภาวัฒนธรรมแห่งชาติขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2485การสวมหมวกก็เป็น1ใส่รองเท้าก็จัดอยู่ในจัดระเบียบการดำเนินชีวิตของคนไทยให้เป็นแบบอารยประเทศโดยในอดีตในสมัยที่ยังรบโดยใช้ดาบกันอยู่นั้นนักรบก็จะสวมหมวกที่สานด้วยหวายลงรักจารอักขระคาถาเพื่อเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจเรียกว่า "กุ๊บละแอ"ซึ่งปัจจุบันหาดูได้ยากมาก นอกจากนี้คนเมืองแพร่จะใช้ผ้าหัว(ผ้าขาวม้า)ผู้ชายนิยมโพกส่วนผู้หญิงก็จะคลุมศรีษะเวลาออกแดดจ้าๆเรียกว่า "ว่อม" ในช่วงการสร้างวัฒนธรรมแบบใหม่นี้คนเมืองแพร่โดย เฉพาะผู้ชายก็นิยมสวมหมวกสักหลาด2ชนิดชนิดแรกเป็นหมวกปีกค่อนข้างกว้าง ทรงGAMBLERสีดำ ยี่ห้อ"วินสัน" เรียกติดๆปากกันว่า"หมวกวินสัน"ชนิดที่2 ก็เป็นหมวกสักหลาดเหมือนกันแต่ทรง FADORAสีน้ำตาลคาดริปปิ้นผ้าสีขาว ยี่ห้อ จอนสัน เรียกติดๆปากกันว่า"หมวกจอนสัน" ราคาสมัยนั้นก็สูงถึง 3ถึง400บาทเลยที่เดียว ส่วนเด็กๆที่กำลังศึกษาอยู่นั้นก็สวมหมวกกะโล่สีขาวไม่หุ้มหรือบุผ้าข้างใน(เหมือนของพวกข้าราชการ) สวมไปโรงเรียนกันจะไม่นิยมสวมในขณะขี่จักรยานเพราะน้ำหนักที่เบาทำให้ตกแตกได้ง่าย นอกจากนี้วัยรุ่นช่วงปี พ.ศ. 2510นั้น
ก็จะสวมหมวก "flat cap" หรือ หมวกติงลี่ ส่วนพวกผู้หญิงเมืองแพร่ไม่ค่อยนิยมสวมหมวกกันสักเท่าไหร่นักสาวๆรุ่นใหม่ก็หันมาไว้ผมบ๊อบตามที่รัฐบาลประกาศ นิยมดัดผมกันเป็นอันมากไม่นิยมเกล้าผมเป็นมวยเหมือนในอดีต สมัยนั้นการดัดผมนั้นจะดัดโดยใช้ที่ดัดผมที่ทำจากเหล็กเผาไฟให้แดงจึงนำมาดัดเรียกว่าทรงคลื่น แต่คนเมืองเรียก "ทรงดอกต๋าล่อม"กัน หน้าเสียดายมากที่หนุ่มสาวสมัยนั้นก็กลายเป็นคนแก่สมัยนี้การแต่งกายแบบในอดีตก็ยังพอมีให้เป็นอยู่บ้างแต่น้อยมากจึงจัดทำบทความเรื่องนี้เพื่อที่จะเป็นการอนุรักษ์มนต์เสนห์ของจังหวัดเล็กๆปแห่งนี้ที่เรียกว่าแพร่สืบต่อไป

หมวกกะโล่แบบที่นักเรียนสวมเวลาไปโรงเรียน

สมัยก่อนหมวกนิยมสวมทุกสถานที่ทุกงานจากรูปจะเป็นหมวกติงลี่และหมวกจอจอนสัน

3,715 views

3

แบ่งปัน

มิวเซียมในจังหวัดแพร่