ศูนย์การเรียนรู้

ศูนย์เรียนรู้การใช้ประโยชน์และอนุรักษ์ ความหลากหลาย ทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น ตำบลน้ำเกี๋ยน อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน

หน่วยงานรับผิดชอบ
-
สาระความรู้
กิจกรรม ศึกษาดูงานเกี่ยวกับกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์สารสกัดจากสมุนไพร การปลูกพืชสมุนไพรและการอนุรักษ์ป่าชุมชน ฯลฯ โดยมีแหล่งเรียนรู้ 8 แหล่งเรียนรู้ ดังนี้ แหล่งเรียนรู้ที่ 1 : แหล่งเรียนรู้การอนุรักษ์ป่าชุมชนบ้านใหม่สันติสุขหมู่ 5 แหล่งเรียนรู้ที่ 2 : แปลงเกษตรของศูนย์ถ่ายทอดเทคโน โลยีการเกษตร ตำบลน้ำเกี๋ยน แหล่งเรียนรู้ที่ 3 : แปลงปลูกสมุนไพรชมรมผู้สูงอายุในวัดโป่งคำ แหล่งเรียนรู้ที่ 4 : แปลงปลูกสมุนไพรของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลน้ำเกี๋ยน แหล่งเรียนรู้ที่ 5 : ป่าครอบครัว 15 หลังคาเรือน (นำร่อง) แหล่งเรียนรู้ที่ 6 : แหล่งเรียนรู้ การแปรรูปเครื่องสำอางสมุนไพร (วิสาหกิจชุมชนชีววิถี) แหล่งเรียนรู้ที่ 7 : แหล่งเรียนรู้การแปรรูปสมุนไพรและภูมิปัญญาหมอพื้นบ้าน แหล่งเรียนรู้ที่ 8 : แหล่งเรียนรู้ด้านการแปรรูปสมุนไพรเป็นน้ำมันหอมระเหย
กิจกรรมที่จัด
-
กลุ่มเป้าหมาย
-
รูปแบบการบริหารจัดการ
-
วันเวลาทำการ
เปิดทำการทุกวัน 08.30 – 17.00 น.
ค่าบริการ
-
สาขา/เครือข่าย
-
การติดต่อ
นายยุทธศาสตร์ แผลงศาสตรา
เบอร์โทรศัพท์ : 086-1942430

ศูนย์เรียนรู้การใช้ประโยชน์และอนุรักษ์ ความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น ตำบลกุดบาก อำเภอกุดบาก จังหวัดสกลนคร

หน่วยงานรับผิดชอบ
-
สาระความรู้
กิจกรรม ศึกษาเรียนรู้ด้านการย้อมผ้าคราม การเตรียมน้ำสีสำหรับย้อมผ้าคราม การปั่นเส้นใยฝ้ายย้อมครามกับเส้นใยธรรมชาติชนิดอื่น วิถีชีวิตชนเผ่ากระเลิง ฯลฯ โดยมีแหล่งเรียนรู้ 7 แหล่งเรียนรู้ ดังนี้ แหล่งเรียนรู้ที่ 1 : จุดนิทรรศการ/บริการข้อมูล/จำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน แหล่งเรียนรู้ที่ 2 : สาธิตการทำผ้าฝ้ายย้อมคราม และเครื่องจักสานจากคล้า แหล่งเรียนรู้ที่ 3 : สาธิตการปลูกพืชทดแทนทรัพยากร ที่นำไปใช้ประโยชน์เชิงธุรกิจ แหล่งเรียนรู้ที่ 4 : เรียนรู้วัฒนธรรมเผ่ากะเลิง แหล่งเรียนรู้ที่ 5 : ป่าชุมชนและสมุนไพร แหล่งเรียนรู้ที่ 6 : ป่าวัฒนธรรม แหล่งเรียนรู้ที่ 7 : ป่าครอบครัว จุดเด่น ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นผ้าฝ้ายทอมือย้อมคราม อาทิ ผลิตภัณฑ์จากผ้าย้อมคราม เช่น ผ้าพันคอ ผ้าคลุมไหล่ เสื้อผ้า กระเป๋ารูปแบบต่างๆ รองเท้า เครื่องใช้สอย กระเป๋า ปลอกหมอน พวงกุญแจ กิ๊ฟหนีบผม ปกสมุด เป็นต้น
กิจกรรมที่จัด
-
กลุ่มเป้าหมาย
-
รูปแบบการบริหารจัดการ
-
วันเวลาทำการ
เปิดทำการทุกวัน 08.30 – 17.00 น.
ค่าบริการ
-
สาขา/เครือข่าย
-
การติดต่อ
นางจุฑามาศ พลหาญ
เบอร์โทรศัพท์ : 080-1774526

ศูนย์เรียนรู้การใช้ประโยชน์และอนุรักษ์ ความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น ตำบลระบำ อำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี

หน่วยงานรับผิดชอบ
-
สาระความรู้
กิจกรรม ศึกษาดูงานเรียนรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ชุมชน ป่าครอบครัวและป่าชุมชน ฯลฯ โดยมีแหล่งเรียนรู้ 7 แหล่งเรียนรู้ และที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ แหล่งเรียนรู้ที่ 1 : ป่าชุมชนเขาหินเหล็กไฟ แหล่งเรียนรู้ที่ 2 : ป่าครอบครัว แหล่งเรียนรู้ที่ 3 : การทำชารางจืด แหล่งเรียนรู้ที่ 4 : การทำปุ๋ยจุลินทรีย์ แหล่งเรียนรู้ที่ 5 : การแปรรูปหน่อไม้ แหล่งเรียนรู้ที่ 6 : หญ้าคา แหล่งเรียนรู้ที่ 7 : ผลิตภัณฑ์จากไผ่ ดูงานแหล่งเรียนรู้ป่ามรดกโลกห้วยขาแข้ง + ชุมชนเครือข่าย(ผ้าไหม ชุมตาบง โลชั่นมะหาด ข้าวอินทรีย์ แม่เปิน)
กิจกรรมที่จัด
-
กลุ่มเป้าหมาย
-
รูปแบบการบริหารจัดการ
-
วันเวลาทำการ
เปิดทำการทุกวัน 08.30 – 17.00 น.
ค่าบริการ
-
สาขา/เครือข่าย
-
การติดต่อ
น.ส.นุจนาถ จันทร์สม
เบอร์โทรศัพท์ : 089-2109931

ศูนย์เรียนรู้การใช้ประโยชน์และอนุรักษ์ ความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก

หน่วยงานรับผิดชอบ
-
สาระความรู้
กิจกรรม ศึกษาดูงาน เยี่ยมชม กระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและความงาม และบริการสปานวดไทย โดยมีแหล่งเรียนรู้ 7 แหล่งเรียนรู้ ดังนี้ แหล่งเรียนรู้ที่ 1 : ศึกษาดูงานและเรียนรู้ขั้นตอนการผลิตเครื่องสำอางจากพืชสมุนไพร/การตรียมสารสกัดพืชสมุนไพร การควบคุมคุณภาพ/ผลิตภัณฑ์สุขภาพความงามและสปา แหล่งเรียนรู้ที่ 2 :เรียนรู้วิธีการนวดสปาสมุนไพรธรรมชาติ แหล่งเรียนรู้ที่ 3 : แปลงสาธิตการปลูกพืชสมุนไพร/ป่าครอบครัว แหล่งเรียนรู้ที่ 4 : ป่าชุมชนตำบลท่าโพธิ์ แหล่งเรียนรู้ที่ 5 :พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านและภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลท่าโพธิ์ แหล่งเรียนรู้ที่ 6 :เครื่องปั้นดินเผาตำบลท่าโพธิ์ แหล่งเรียนรู้ที่ 7 : แหล่งเรียนรู้กลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตพันธุ์ข้าวบ้านคลองคู
กิจกรรมที่จัด
-
กลุ่มเป้าหมาย
-
รูปแบบการบริหารจัดการ
-
วันเวลาทำการ
-
ค่าบริการ
-
สาขา/เครือข่าย
-
การติดต่อ
น.ส.วรัญญา หอมธูป
เบอร์โทรศัพท์ : 086-9291745

ศูนย์เรียนรู้การใช้ประโยชน์และอนุรักษ์ ความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น ตำบลสำราญ อำเภอสามชัย จังหวัดกาฬสินธุ์

หน่วยงานรับผิดชอบ
-
สาระความรู้
ศึกษาดูงาน เยี่ยมชม กระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ดูแลสุขภาพ จากพืชสมุนไพรแบบครบวงจร และผลิตภัณฑ์บำรุงร่างกาย โดยมีแหล่งเรียนรู้ 9 แหล่งเรียนรู้ ดังนี้ แหล่งเรียนรู้ที่ 1 : ศูนย์แสดงนิทรรศการ/บริการข้อมูล แหล่งเรียนรู้ที่ 2 : ด้านการแปรรูปสมุนไพร แหล่งเรียนรู้ที่ 3 : การจัดแสดงผลิตภัณฑ์สมุนไพรและจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ แหล่งเรียนรู้ที่ 4 : ด้านการใช้ประโยชน์สมุนไพร ห้องบริการนวดแผนไทย แหล่งเรียนรู้ที่ 5 : ด้านการใช้ประโยชน์สมุนไพร ห้องบริการอบสมุนไพรเพื่อสุขภาพ แหล่งเรียนรู้ที่ 6 :โรงเรือนอบสมุนไพรพลังงานแสงอาทิตย์ แหล่งเรียนรู้ที่ 7 :โรงเรือนขยายพันธุ์พืชสมุนไพร/การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ แหล่งเรียนรู้ที่ 8 :แปลงปลูกพืชสมุนไพรระบบ GAP แหล่งเรียนรู้ที่ 9 : ด้านป่าชุมชนเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูพืชสมุนไพร
กิจกรรมที่จัด
-
กลุ่มเป้าหมาย
-
รูปแบบการบริหารจัดการ
-
วันเวลาทำการ
-
ค่าบริการ
-
สาขา/เครือข่าย
-
การติดต่อ
นางจาตรียาพร วงษา เบอร์โทรศัพท์ : 085-0026191 , 089-5725112